messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม info_outline ข้อมูลการติดต่อ camera_alt ภาพกิจกรรม
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี
local_cafe สถานที่สำคัญ
สถานที่สำคัญในเขต อบต.ดงกระทงยาม ตำบลดงกระทงยามและตำบลหาดยางมีแหล่งท่องเที่ยว ศุนย์การเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยว ดังนี้ 1.เฮือนสบาย เป็นสถานที่ให้บริการด้านการนวดแผนไทย อบสมุนไพร และสปา หมู่ที่ 1 ตำบลดงกระทงยาม 2.บ้านพักโฮมสเตย์ ตำบลดงกระทงยาม จำนวน 11 หลัง เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสัมผัสวัฒนธรรมและวิถีฃีวิตชุมชน 3.พิพิธภัณฑ์ไทยพวน หมู่ที่ 3 บ้านใหม่ ตำบลดงกระทงยาม เป็นสถานที่รวบรวมและจัดแสดงวัตถุโบราณ และของใช้หายากชองชาวไทยพวน ดหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบชองโบราณและผู้ที่สยใจศึกษาหาความรู้ 4.ศูนย์ผลิตภัณฑ์ตะกร้อ-ตะแกรง หมู่ที่ 4 บ้านท้ายดง ตำบลดงกระทงยามเป็นแหล่งผลิตตะกร้อขตะแกรงที่ใหญ่ที่สุด และได้รับคัดเลือกเป็นหมู่บ้านหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับประเทศและได้รับประกาศนียบัตรรับรองหมู่บ้าน otop Village Champion(ovc) ปี 2549 ของคณะกรรมการจัดการประกวดหมู่บ้านหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 5.ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 4 บ้านท้ายดง ตำบลดงกระทงยามเป็นสถานที่ถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้ชีวิตตามปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง การเลี่ยงหมูหลุม การเลี้ยงปลาในกระชัง การทำนารูปแบบใหม่ (การโยนกล้า) การทำน้ำจุลินทรีย์และปุ่ยจุลินทรีย์ชีวภาพส่งเสริมการใช้ปุ๋ยสั้งตัด ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถใช้สถานที่ต้อนรับนักท่องเที่ยวหรือใช้เป็นสถานที่อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านต่างๆ 6.โรงสีข้าวพระราชทาน หมู่ที่ 6 บ้านท้ายสะแก ตำบลดงกระทงยาม สถาบัน/องค์กร/หน่วยงานสนับสนุนส่งเสริมอาชีพ 1.องค์การบรืหารส่วนตำบลดงกระทงยาม 2.ศูนย์บรืการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบล 3.สถานีชลประทานบางพลวง 4.กลุ่มผู้ใช้น้ำหาดยาง 5.คณะกรรมการหมู่บ้าน otop 6.คณะกรรมการกล่มบ้านพักโฮมสเตย์ 7.กลุ่มเกษตรผู้ทำนาองค์การบรืการบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม 8.กองทุนสวัสดิการชุมชน 1.ตำบลดงกระทงยาม 1 กองทุน 2.ตำบลหาดยาง 1 กองทุน 9.ศูนย์การเรียนรู่เศรษฐกิจพอเพียง 1 แห่ง
สถานที่สำคัญ
สถานที่สำคัญในเขต อบต.ดงกระทงยาม

ตำบลดงกระทงยามและตำบลหาดยางมีแหล่งท่องเที่ยว ศุนย์การเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยว ดังนี้ 1.เฮือนสบาย เป็นสถานที่ให้บริการด้านการนวดแผนไทย อบสมุนไพร และสปา หมู่ที่ 1 ตำบลดงกระทงยาม 2.บ้านพักโฮมสเตย์ ตำบลดงกระทงยาม จำนวน 11 หลัง เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสัมผัสวัฒนธรรมและวิถีฃีวิตชุมชน 3.พิพิธภัณฑ์ไทยพวน หมู่ที่ 3 บ้านใหม่ ตำบลดงกระทงยาม เป็นสถานที่รวบรวมและจัดแสดงวัตถุโบราณ และของใช้หายากชองชาวไทยพวน ดหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบชองโบราณและผู้ที่สยใจศึกษาหาความรู้ 4.ศูนย์ผลิตภัณฑ์ตะกร้อ-ตะแกรง หมู่ที่ 4 บ้านท้ายดง ตำบลดงกระทงยามเป็นแหล่งผลิตตะกร้อขตะแกรงที่ใหญ่ที่สุด และได้รับคัดเลือกเป็นหมู่บ้านหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ระดับประเทศและได้รับประกาศนียบัตรรับรองหมู่บ้าน otop Village Champion(ovc) ปี 2549 ของคณะกรรมการจัดการประกวดหมู่บ้านหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 5.ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 4 บ้านท้ายดง ตำบลดงกระทงยามเป็นสถานที่ถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้ชีวิตตามปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง การเลี่ยงหมูหลุม การเลี้ยงปลาในกระชัง การทำนารูปแบบใหม่ (การโยนกล้า) การทำน้ำจุลินทรีย์และปุ่ยจุลินทรีย์ชีวภาพส่งเสริมการใช้ปุ๋ยสั้งตัด ฯลฯ นอกจากนี้ยังสามารถใช้สถานที่ต้อนรับนักท่องเที่ยวหรือใช้เป็นสถานที่อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านต่างๆ 6.โรงสีข้าวพระราชทาน หมู่ที่ 6 บ้านท้ายสะแก ตำบลดงกระทงยาม สถาบัน/องค์กร/หน่วยงานสนับสนุนส่งเสริมอาชีพ 1.องค์การบรืหารส่วนตำบลดงกระทงยาม 2.ศูนย์บรืการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจำตำบล 3.สถานีชลประทานบางพลวง 4.กลุ่มผู้ใช้น้ำหาดยาง 5.คณะกรรมการหมู่บ้าน otop 6.คณะกรรมการกล่มบ้านพักโฮมสเตย์ 7.กลุ่มเกษตรผู้ทำนาองค์การบรืการบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม 8.กองทุนสวัสดิการชุมชน 1.ตำบลดงกระทงยาม 1 กองทุน 2.ตำบลหาดยาง 1 กองทุน 9.ศูนย์การเรียนรู่เศรษฐกิจพอเพียง 1 แห่ง
info สถานที่ท่องเที่ยว
ข้อมูล บ้านดงโฮมสเตย์ บ้านดงโฮมสเตย์ ติดต่อ คุณเดือนเพ็ญ ขันธ์ทอง ประธานกลุ่มบ้านดงโฮมสเตย์ โทรศัพท์ 08-1720-3020 กองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม โทรศัพท์ 037-218797-9 ต่อ 13 , 14 นางสาวธนธีรา ชัยรักษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองการศึกษา โทรศัพท์ 09-3529-1916
ข้อมูล อนุสาวรีย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร เป็นตึกผู้ป่วยหลังแรกของโรงพยาบาลเมื่อปี พ.ศ. 2452 โดยท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)ได้จ้างเหมาบริษัทโฮวาร์ดเออร์สกินตามแบบศิลปะบาโร้คของตะวันตก มีความประสงค์จะสร้างตึกหลังนี้ เพื่อจะใช้เป็นที่ประทับแรม ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หากเสด็จมลฑลปราจีนบุรีอีก หลังจากเสด็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2451 แต่พระองค์สวรรคตเสียก่อนในปีพ.ศ. 2453 อย่างไรก็ตามตึกหลังนี้ก็ยังคงใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี 2455 รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ อีกหลายพระองค์ คราวเสด็จมลฑลปราจีนบุรี โดยที่ท่านเจ้าของตึกไม่เคยใช้ตึกหลังนี้เป็นที่พำนักส่วนตัวเลย ตราบจนสิ้นอายุขัย ปี พ.ศ. 2465 จึงได้มีการตั้งศพของท่านไว้ชั้นบนของตึกก่อนการพระราชทานเพลิงศพในปีเดียวกัน จนกระทั่งในวันที่ 25 มกราคม 2533 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรเป็นโบราณสถาน อนุสาวรีย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ซึ่งประดิษฐานอยู่หน้าตึก
อนุสาวรีย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร รอปรับปรุง
อุทยานแห่งชาติทับลาน อุทยานแห่งชาติทับลาน ตั้งอยู่ที่ตำบลบุพราหมณ์ อำเภอนาดี การเดินทางจากทางหลวงหมายเลข 33 ถึงอำเภอกบินทร์บุรี เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 304 ระยะทางประมาณ 32 กิโลเมตร อุทยานแห่งชาติทับลาน มีพื้นที่อยู่ในเขตจังหวัดปราจีนบุรีและนครราชสีมา มีเนื้อที่ประมาณ 2,240 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,400,000 ไร่ นับเป็นป่าลานที่ขึ้นเองตามธรรมชาติแห่งสุดท้ายของประเทศไทย เป็นพันธุ์ไม้ ดึกดำบรรพ์ตระกูลปาล์มที่หายาก จะออกดอกเมื่อต้นมีอายุ 20 ปีขึ้นไป ช่วงฤดูออกดอกในราวเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ดอกมีสีเหลืองสดสวยงามมาก หลังออกดอกแล้วต้นลานนั้นจะตายไป นอกจากดงลานแล้ว พื้นที่อุทยานฯ ยังปกคลุมด้วยป่าเต็งรัง และป่าดงดิบที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและนกชนิดต่างๆ สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจภายในอุทยานฯ ได้แก่ -สวนพักผ่อนหย่อนใจ อยู่ติดกับที่ทำการอุทยานฯ พื้นที่ประมาณ 20 ไร่ ประกอบด้วยต้นลานและพันธุ์ไม้นานาชนิด สภาพร่มรื่น มีซุ้มสำหรับนั่งพักผ่อน กลางสวนมีสระน้ำขนาดใหญ่ -น้ำตกทับลาน (เหวนกกก) อยู่ห่างจากบ้านทับลานประมาณ 7 กิโลเมตร ต่อด้วยทางเดินเท้า เป็นน้ำตกที่สวยงาม มีเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น -อ่างเก็บน้ำทับลาน อยู่ห่างจากบ้านทับลานประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นอ่างเก็บน้ำที่สวยงามล้อมรอบไปด้วยภูเขา อากาศเย็นสบายเหมาะแก่การพักผ่อน -น้ำตกห้วยใหญ่ อยู่ทางทิศตะวันตกของอุทยานฯ แยกจากทางหลวงหมายเลข 304 ตรงหลักกิโลเมตร.ที่ 79 เข้าไปอีก 6 กิโลเมตร ในหน้าแล้งนำรถยนต์เข้าได้เกือบถึงตัวน้ำตก น้ำตกห้วยใหญ่เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ที่มีความงดงามมากแห่งหนึ่ง มีความสูงประมาณ 50 เมตร กว้างประมาณ 30 เมตร อุทยานแห่งชาติทับลาน ผู้สนใจจะพักแรมในอุทยานฯ สามารถกางเต้นท์พักแรมได้ โดยสอบถามรายละเอียดที่อุทยานแห่งชาติทับลาน ตู้ ปณ. 37 อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี หรือที่กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ บางเขน กรุงเทพฯ โทร.02-579-5734 , 02-579-7223
บ้านดงโฮมสเตย์ รอปรับปรุง
สถานที่ท่องเที่ยว
ข้อมูล

บ้านดงโฮมสเตย์ บ้านดงโฮมสเตย์ ติดต่อ คุณเดือนเพ็ญ ขันธ์ทอง ประธานกลุ่มบ้านดงโฮมสเตย์ โทรศัพท์ 08-1720-3020 กองการศึกษาฯ องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม โทรศัพท์ 037-218797-9 ต่อ 13 , 14 นางสาวธนธีรา ชัยรักษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการกองการศึกษา โทรศัพท์ 09-3529-1916
ข้อมูล

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร เป็นตึกผู้ป่วยหลังแรกของโรงพยาบาลเมื่อปี พ.ศ. 2452 โดยท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)ได้จ้างเหมาบริษัทโฮวาร์ดเออร์สกินตามแบบศิลปะบาโร้คของตะวันตก มีความประสงค์จะสร้างตึกหลังนี้ เพื่อจะใช้เป็นที่ประทับแรม ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หากเสด็จมลฑลปราจีนบุรีอีก หลังจากเสด็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2451 แต่พระองค์สวรรคตเสียก่อนในปีพ.ศ. 2453 อย่างไรก็ตามตึกหลังนี้ก็ยังคงใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี 2455 รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ อีกหลายพระองค์ คราวเสด็จมลฑลปราจีนบุรี โดยที่ท่านเจ้าของตึกไม่เคยใช้ตึกหลังนี้เป็นที่พำนักส่วนตัวเลย ตราบจนสิ้นอายุขัย ปี พ.ศ. 2465 จึงได้มีการตั้งศพของท่านไว้ชั้นบนของตึกก่อนการพระราชทานเพลิงศพในปีเดียวกัน จนกระทั่งในวันที่ 25 มกราคม 2533 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรเป็นโบราณสถาน อนุสาวรีย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ซึ่งประดิษฐานอยู่หน้าตึก
อนุสาวรีย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร

รอปรับปรุง
อุทยานแห่งชาติทับลาน

อุทยานแห่งชาติทับลาน ตั้งอยู่ที่ตำบลบุพราหมณ์ อำเภอนาดี การเดินทางจากทางหลวงหมายเลข 33 ถึงอำเภอกบินทร์บุรี เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 304 ระยะทางประมาณ 32 กิโลเมตร อุทยานแห่งชาติทับลาน มีพื้นที่อยู่ในเขตจังหวัดปราจีนบุรีและนครราชสีมา มีเนื้อที่ประมาณ 2,240 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,400,000 ไร่ นับเป็นป่าลานที่ขึ้นเองตามธรรมชาติแห่งสุดท้ายของประเทศไทย เป็นพันธุ์ไม้ ดึกดำบรรพ์ตระกูลปาล์มที่หายาก จะออกดอกเมื่อต้นมีอายุ 20 ปีขึ้นไป ช่วงฤดูออกดอกในราวเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ดอกมีสีเหลืองสดสวยงามมาก หลังออกดอกแล้วต้นลานนั้นจะตายไป นอกจากดงลานแล้ว พื้นที่อุทยานฯ ยังปกคลุมด้วยป่าเต็งรัง และป่าดงดิบที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและนกชนิดต่างๆ สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจภายในอุทยานฯ ได้แก่ -สวนพักผ่อนหย่อนใจ อยู่ติดกับที่ทำการอุทยานฯ พื้นที่ประมาณ 20 ไร่ ประกอบด้วยต้นลานและพันธุ์ไม้นานาชนิด สภาพร่มรื่น มีซุ้มสำหรับนั่งพักผ่อน กลางสวนมีสระน้ำขนาดใหญ่ -น้ำตกทับลาน (เหวนกกก) อยู่ห่างจากบ้านทับลานประมาณ 7 กิโลเมตร ต่อด้วยทางเดินเท้า เป็นน้ำตกที่สวยงาม มีเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น -อ่างเก็บน้ำทับลาน อยู่ห่างจากบ้านทับลานประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นอ่างเก็บน้ำที่สวยงามล้อมรอบไปด้วยภูเขา อากาศเย็นสบายเหมาะแก่การพักผ่อน -น้ำตกห้วยใหญ่ อยู่ทางทิศตะวันตกของอุทยานฯ แยกจากทางหลวงหมายเลข 304 ตรงหลักกิโลเมตร.ที่ 79 เข้าไปอีก 6 กิโลเมตร ในหน้าแล้งนำรถยนต์เข้าได้เกือบถึงตัวน้ำตก น้ำตกห้วยใหญ่เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ที่มีความงดงามมากแห่งหนึ่ง มีความสูงประมาณ 50 เมตร กว้างประมาณ 30 เมตร อุทยานแห่งชาติทับลาน ผู้สนใจจะพักแรมในอุทยานฯ สามารถกางเต้นท์พักแรมได้ โดยสอบถามรายละเอียดที่อุทยานแห่งชาติทับลาน ตู้ ปณ. 37 อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี หรือที่กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ บางเขน กรุงเทพฯ โทร.02-579-5734 , 02-579-7223
บ้านดงโฮมสเตย์

รอปรับปรุง
info ประเพณีวัฒนธรรม
ส่งเสริมด้านการกีฬา รอปรับปรุง
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น รอปรับปรุง
ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น รอปรับปรุง
ประเพณีวัฒนธรรม
ส่งเสริมด้านการกีฬา

รอปรับปรุง
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น

รอปรับปรุง
ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น

รอปรับปรุง
info_outline วิสัยทัศน์ /พันธกิจ
วิสัยทัศน์ /พันธกิจ อบต.ดงกระทงยาม วิสัยทัศน์(Vision) องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม น่าอยู่ เกษตรกรรมก้าวหน้า แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สังคมมีคุณภาพ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม - ประเพณี ชุมชนเข้มแข็ง พันธกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม พันธกิจที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคตและเศรษฐกิจของท้องถิ่น พันธกิจที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคน ครอบครัว และชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ 3 การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง พันธกิจที่ 4 ปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาและสาธารณสุข ตลอดจนอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงามและภูมิปัญญาของท้องถิ่น พันธกิจที่ 5 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี พันธกิจที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการด้านการท่องเที่ยวและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พันธกิจที่ 7 การสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินและการคลัง โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหารการเงินการคลังให้สอดรับกับอำนาจหน้าที่และภารกิจที่มีอยู่เดิม และที่ได้รับโอนจากการกระจายอำนาจจากรัฐบาล พันธกิจที่ 8 การเพิ่มศักยภาพของผังเมืองให้เป็นเครื่องมือชี้นำและสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งหรืออุปสรรคต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ
คำขวัญประจำองค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม " ดงกระทงยาม – หาดยาง น่าอยู่ เกษตรกรรมก้าวหน้า ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ก้าวไกลผลิตภัณฑ์ตะกร้อตะแกรง แหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ สืบสานวัฒนธรรมไทยพวน "
ความหมาย ตราสัญลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม คือ " รูปรวงข้าว และ ฆ้อง " ซึ่ง "รวงข้าว" แสดงถึงอาชีพหลักของชาวตำบลดงกระทงยาม ซึ่งมีอาชีพเกษตรกรรม (ทำนา )" ฆ้อง " แสดงถึง การบอกเวลาของคนยุคเก่า หรือเรียกว่า การบอกยาม
ตราสัญลักษณ์องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม รอปรับปรุง
วิสัยทัศน์ /พันธกิจ
วิสัยทัศน์ /พันธกิจ อบต.ดงกระทงยาม

วิสัยทัศน์(Vision) องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม น่าอยู่ เกษตรกรรมก้าวหน้า แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สังคมมีคุณภาพ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม - ประเพณี ชุมชนเข้มแข็ง พันธกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม พันธกิจที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคตและเศรษฐกิจของท้องถิ่น พันธกิจที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคน ครอบครัว และชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ 3 การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง พันธกิจที่ 4 ปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาและสาธารณสุข ตลอดจนอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงามและภูมิปัญญาของท้องถิ่น พันธกิจที่ 5 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี พันธกิจที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการด้านการท่องเที่ยวและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พันธกิจที่ 7 การสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินและการคลัง โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหารการเงินการคลังให้สอดรับกับอำนาจหน้าที่และภารกิจที่มีอยู่เดิม และที่ได้รับโอนจากการกระจายอำนาจจากรัฐบาล พันธกิจที่ 8 การเพิ่มศักยภาพของผังเมืองให้เป็นเครื่องมือชี้นำและสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งหรืออุปสรรคต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ
คำขวัญประจำองค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม

" ดงกระทงยาม – หาดยาง น่าอยู่ เกษตรกรรมก้าวหน้า ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ก้าวไกลผลิตภัณฑ์ตะกร้อตะแกรง แหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ สืบสานวัฒนธรรมไทยพวน "
ความหมาย

ตราสัญลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม คือ " รูปรวงข้าว และ ฆ้อง " ซึ่ง "รวงข้าว" แสดงถึงอาชีพหลักของชาวตำบลดงกระทงยาม ซึ่งมีอาชีพเกษตรกรรม (ทำนา )" ฆ้อง " แสดงถึง การบอกเวลาของคนยุคเก่า หรือเรียกว่า การบอกยาม
ตราสัญลักษณ์องค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม

รอปรับปรุง
insert_drive_file ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
สถาบันและองค์การทางศาสนา สถาบันและองค์การทางศาสนา ประชากรตำบลดงกระทงยามและตำบลหาดยาง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัดจำนวน 6 แห่ง ดังนี้ ตำบลดงกระทงยาม มีวัด จำนวน 4 แห่ง 1.วัดชัยมงคล (วัดบ้านแล้ง) หมู่ที่ 1 บ้านแล้ง 2.วัดใหม่ดงกระทงยาม หมู่มี่ 3 บ้านใหม่ 3.วัดราษฎรนิยม หมู่ที่ 4 บ้านท้ายดง 4.วัดดอนใหม่ หมู่ที่ 5 บ้านดอนใหญ่ ตำบลหาดยาง มีวัด จำนวน 2 แห่ง 1.วัดสิรัญดอน (วัดต้นตาล) หมู่ที่ 1 บ้านต้นตาล 2.วัดธรรมโพธิ์ศรี (วัดหาดยาง) หมู่ที่ 2 บ้านหาดยาง การบริการพื้นฐาน การคมนาคม ตำบลดงกระทงยาม 1.ถนนทางหลวงชนบท (ปจ.3006) เป็นถนนลาดยาง ปากทางเข้าตำบลดงกระทงยาม ตำบลหัวหว้า 2.ถนนทางหลวงชนบท (ปจ.3003) เป็นถนนลาดยาง บ้านท้ายดง - ถนนสุวินทวงศ์ 3.ถนนสุวินทวงษ์-ฉะเชิงเทรา ผ่านหมู่ที่6 ,7 ตำบลดงกระทงยาม และหมู่ที่ 3 ตำบลหาดยาง 4.ถนนภายในหมู่บ้านจะเป็นคอนกรีต และถนนลูกรังหลายสาย ตำบทหาดยาง 1.ถนนปราจันบุรีอนุสรน์ (ถนนทางหลวงชนบท ปจ.3069) อำเภอศรีมหาโพธิ-ปราจีนบุรีผ่าน หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลหาดยาง 2.ถนนลาดยางจากถนนปราจีนบุรีอนุสรน์ผ่านภายในหมู่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลหาดยางถึงถนนทางหลวงชนบท (ปจ.3003) หมู่ที่ 5 ตำบลดงกระทงยาม 3.ถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่ ข เหล็ก ภายในหมู่บ้านหลายสาย 4.ถนนลูกรังเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านและภายในหมู่บ้านหลายสาย การโทรคมนาคม 1.โทรศัพท์สาธารณะ ตำบลดงกระทงยาม จำนวน 9 แห่ง ตำบลหาดยาง จำนวน 2 แห่ง 2.การไฟ้ฟ้า จำนวน11 หมู่บ้าน ประชากรที่มีไฟฟ้าใช้ ประมาณ 99 % ภูมิปัญญาท้องถิ่น 1.การทำนา 2.หมอดิน 3.ปราชญ์ชาวบ้าน 4.สมุนไพร 5.อาหารพื้นบ้านไทยพวน 6.สานตะกร้อ ขตะแกรง 7.กลองยาวประยุกต์ 8.ดนตรีไทย 9.จักรสานไม้ไผ่ 10.ข้าวหลามอบโอ่ง ระบบสื่อสาร 1.หอกระจายข่าว 2.เสียงตามสาย 3.เว็บไซต์ อบต. 4.โทรศัพท์ มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น จำนวน 300 คน - ไทยอาสาป้องกันชาติ 1 รุ่น จำนวน 25 คน - อปพร. 1 รุ่น จำนวน 115 คน - กองทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ 1 รุ่น จำนวน 120 คน - สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 184 คน - กลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน จำนวน 166 คน - กลุ่ม อสม. จำนวน 138 คน - สภาวัฒนธรรมตำบลดงกระทงยาม จำนวน 60 คน - ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น จำนวน 300 คน - ไทยอาสาป้องกันชาติ 1 รุ่น จำนวน 25 คน - อปพร. 1 รุ่น จำนวน 115 คน - กองทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ 1 รุ่น จำนวน 120 คน - สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 184 คน - กลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน จำนวน 166 คน - กลุ่ม อสม. จำนวน 138 คน - สภาวัฒนธรรมตำบลดงกระทงยาม จำนวน 60 คน
สถาบันการศึกษา รอปรับปรุง
การศึกษา สถาบันการศึกษาในสังกัดขององค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยามมีอยู่ 1 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.5 - 3 ขวบ และเป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรีเขต 1 จำนวน 2 แห่ง สุรปได้ดังนี้
ตำบลหาดยาง จำนวน 4 หมู่บ้าน ได้แก่ รอปรับปรุง
ตำบลดงกระทงยาม จำนวน 7 หมู่บ้าน ได้แก่ รอปรับปรุง
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
สถาบันและองค์การทางศาสนา

สถาบันและองค์การทางศาสนา ประชากรตำบลดงกระทงยามและตำบลหาดยาง ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัดจำนวน 6 แห่ง ดังนี้ ตำบลดงกระทงยาม มีวัด จำนวน 4 แห่ง 1.วัดชัยมงคล (วัดบ้านแล้ง) หมู่ที่ 1 บ้านแล้ง 2.วัดใหม่ดงกระทงยาม หมู่มี่ 3 บ้านใหม่ 3.วัดราษฎรนิยม หมู่ที่ 4 บ้านท้ายดง 4.วัดดอนใหม่ หมู่ที่ 5 บ้านดอนใหญ่ ตำบลหาดยาง มีวัด จำนวน 2 แห่ง 1.วัดสิรัญดอน (วัดต้นตาล) หมู่ที่ 1 บ้านต้นตาล 2.วัดธรรมโพธิ์ศรี (วัดหาดยาง) หมู่ที่ 2 บ้านหาดยาง การบริการพื้นฐาน การคมนาคม ตำบลดงกระทงยาม 1.ถนนทางหลวงชนบท (ปจ.3006) เป็นถนนลาดยาง ปากทางเข้าตำบลดงกระทงยาม ตำบลหัวหว้า 2.ถนนทางหลวงชนบท (ปจ.3003) เป็นถนนลาดยาง บ้านท้ายดง - ถนนสุวินทวงศ์ 3.ถนนสุวินทวงษ์-ฉะเชิงเทรา ผ่านหมู่ที่6 ,7 ตำบลดงกระทงยาม และหมู่ที่ 3 ตำบลหาดยาง 4.ถนนภายในหมู่บ้านจะเป็นคอนกรีต และถนนลูกรังหลายสาย ตำบทหาดยาง 1.ถนนปราจันบุรีอนุสรน์ (ถนนทางหลวงชนบท ปจ.3069) อำเภอศรีมหาโพธิ-ปราจีนบุรีผ่าน หมู่ที่ 2,3,4 ตำบลหาดยาง 2.ถนนลาดยางจากถนนปราจีนบุรีอนุสรน์ผ่านภายในหมู่บ้านหมู่ที่ 1 ตำบลหาดยางถึงถนนทางหลวงชนบท (ปจ.3003) หมู่ที่ 5 ตำบลดงกระทงยาม 3.ถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่ ข เหล็ก ภายในหมู่บ้านหลายสาย 4.ถนนลูกรังเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านและภายในหมู่บ้านหลายสาย การโทรคมนาคม 1.โทรศัพท์สาธารณะ ตำบลดงกระทงยาม จำนวน 9 แห่ง ตำบลหาดยาง จำนวน 2 แห่ง 2.การไฟ้ฟ้า จำนวน11 หมู่บ้าน ประชากรที่มีไฟฟ้าใช้ ประมาณ 99 % ภูมิปัญญาท้องถิ่น 1.การทำนา 2.หมอดิน 3.ปราชญ์ชาวบ้าน 4.สมุนไพร 5.อาหารพื้นบ้านไทยพวน 6.สานตะกร้อ ขตะแกรง 7.กลองยาวประยุกต์ 8.ดนตรีไทย 9.จักรสานไม้ไผ่ 10.ข้าวหลามอบโอ่ง ระบบสื่อสาร 1.หอกระจายข่าว 2.เสียงตามสาย 3.เว็บไซต์ อบต. 4.โทรศัพท์ มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น จำนวน 300 คน - ไทยอาสาป้องกันชาติ 1 รุ่น จำนวน 25 คน - อปพร. 1 รุ่น จำนวน 115 คน - กองทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ 1 รุ่น จำนวน 120 คน - สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 184 คน - กลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน จำนวน 166 คน - กลุ่ม อสม. จำนวน 138 คน - สภาวัฒนธรรมตำบลดงกระทงยาม จำนวน 60 คน - ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น จำนวน 300 คน - ไทยอาสาป้องกันชาติ 1 รุ่น จำนวน 25 คน - อปพร. 1 รุ่น จำนวน 115 คน - กองทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ 1 รุ่น จำนวน 120 คน - สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 184 คน - กลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน จำนวน 166 คน - กลุ่ม อสม. จำนวน 138 คน - สภาวัฒนธรรมตำบลดงกระทงยาม จำนวน 60 คน
สถาบันการศึกษา

รอปรับปรุง
การศึกษา

สถาบันการศึกษาในสังกัดขององค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยามมีอยู่ 1 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.5 - 3 ขวบ และเป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรีเขต 1 จำนวน 2 แห่ง สุรปได้ดังนี้
ตำบลหาดยาง จำนวน 4 หมู่บ้าน ได้แก่

รอปรับปรุง
ตำบลดงกระทงยาม จำนวน 7 หมู่บ้าน ได้แก่

รอปรับปรุง
info ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ อบต.ดงกระทงยาม ประวัติความเป็นมา องค์การบริหรส่วนตำบลดงกระทงยาม เดิมมีฐานะเป็นสภาตำบลดงกระทงยาม ซึ่งยกฐานะมาเป็นราชการส่วนท้องถิ่นเป็นองค์การบริหรส่วนตำบลดงกระทงยาม เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบัมีสภาตำบลหาดยางรวมอยุด้วยเพราะมีประชากรไม่ถึง 2,000 คน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2547 ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 บ้านใหม่ และปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม ตั้งที่ 234 หมู่ที่ 4 ตำบลดงกระทงยาม อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ประวัติหมู่บ้าน เหตุที่เรียก ดงกระทงยาม เพราะว่ามีคนในตำบล ทำโคมไฟเป็นดาวรุ่งชักโคมไฟสำหรับหนุ่มสาว สองคนคือ ท้าวมโหสถ และ นางเขียวค่อมที่จะแต่งงานกัน แต่ต้องสร้างถนนให้มาจดกันก่อนดาวรุ่งขึ้นและให้ตรงกันด้วยทั้งคู่ก็สร้างถนนมา แต่ยังไม่ทันจดกัน ก็มีคนชักโคมไฟที่ดงกระทงยามขึ้น ทั้งคู่เลยไม่ได้แต่งงานกัน จึงเรียกว่า “ ดงกระทงยาม ” มาจนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบัน ตำบลดงกระทงยาม มีทั้งหมด 7 หมู่บ้าน
ประวัติความเป็นมา
ประวัติความเป็นมาของ อบต.ดงกระทงยาม

ประวัติความเป็นมา องค์การบริหรส่วนตำบลดงกระทงยาม เดิมมีฐานะเป็นสภาตำบลดงกระทงยาม ซึ่งยกฐานะมาเป็นราชการส่วนท้องถิ่นเป็นองค์การบริหรส่วนตำบลดงกระทงยาม เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบัมีสภาตำบลหาดยางรวมอยุด้วยเพราะมีประชากรไม่ถึง 2,000 คน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2547 ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 บ้านใหม่ และปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลดงกระทงยาม ตั้งที่ 234 หมู่ที่ 4 ตำบลดงกระทงยาม อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ประวัติหมู่บ้าน เหตุที่เรียก ดงกระทงยาม เพราะว่ามีคนในตำบล ทำโคมไฟเป็นดาวรุ่งชักโคมไฟสำหรับหนุ่มสาว สองคนคือ ท้าวมโหสถ และ นางเขียวค่อมที่จะแต่งงานกัน แต่ต้องสร้างถนนให้มาจดกันก่อนดาวรุ่งขึ้นและให้ตรงกันด้วยทั้งคู่ก็สร้างถนนมา แต่ยังไม่ทันจดกัน ก็มีคนชักโคมไฟที่ดงกระทงยามขึ้น ทั้งคู่เลยไม่ได้แต่งงานกัน จึงเรียกว่า “ ดงกระทงยาม ” มาจนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบัน ตำบลดงกระทงยาม มีทั้งหมด 7 หมู่บ้าน